โคงงานอาชีพ
เรือง การทำกล้วยฉาบ
อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์อนุสรณ์ ฤกษ์บางพลัด
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
CAI ช่วยสอน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/6
โคงงานอาชีพ
เรือง การทำกล้วยฉาบ
คณะผู้จัดทำ
1นาย.ขวัญชัย พิมพ์วงศ์ห้อง ม6/6เลขที่7
2นาย.กิจอนันท์ คำผุย ห้อง ม6/6เลขที่12
3นาย.พรศักดิ์ กำมณีห้องม6/6เลขที่14
2นาย.กิจอนันท์ คำผุย ห้อง ม6/6เลขที่12
3นาย.พรศักดิ์ กำมณีห้องม6/6เลขที่14
อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์อนุสรณ์ ฤกษ์บางพลัด
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
CAI ช่วยสอน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/6
บทคัดย่อ
ปัจจุบันคนส่วนมากไม่มีรายได้พิเศษทำจึงไปทำงานในกรุงเทพจากบ้านจากครอบครัวจึงสรรหางานที่ทำอยู่บ้านและสบายขึ้นมาเพื่อให้มีรายได้หาเลี้ยงครอบครัววันละนิด
จึงทำกล้วยฉาบขึ้นมาช่วงนี้ประไทยเกือบทุกภาดจะมีฝนฟ้าตกกระจายทัวไป
ผลผลิตกล้วยแบบง่ายๆตามที่ภูมิปัญญาไทยได้ตกทอดมาให้จนถึงรุ่นลูกหลานในปัจจุบัน
ทำง่ายๆ หากทำคล่องดีแล้วก็สามารถผลิตเป็นอาชือเสริมรายได้
พวกเราจึงทำโครงงานเล่นนี้ขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้าสูตร
และฦกทำกล้วยแบและได้รวบรามไว้ในโครงงานเล่นนี้ เพื่อให้บุคคลที่สนใจ
ได้ศึกษาและเป็นแนวทางต่อไป
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาประวัติและวิธีการทำกล้วยฉาบที่กรอบอร่อย
สามารถเป็นอาหารว่างได้ดีทีเดียว
ซึ่งกล้วยฉาบเป็นขนมชนิดหนึ่งที่มีประโยชน์ในหลายด้านเช่น ใบ
สามารถนำมาใช้สอยด้านฝีมือทำบายศรี ห่อขนม และอาหาร ส่วน
ลำต้นสามารถประดิษฐ์ได้หลายอย่าง ผลก็สามารถนำไปรับประทานได้เมื่อผลสุก
มีคุณค่าทางอาหาร
จากการทำโครงงานเรื่องการทำกล้วยฉาบครั้งนี้สำเณ็จรุร่วงไปได้ด้วยดี
และได้รับคำปรึกษาจากอาจารย์อนุสรณ์ ฤกษ์บางพลัด กลุ่มของพวกเราขอขอบคุณอาจารย์ที่ช่วยชี้แนะแนวทาง
และหวังว่าผู้อ่านหรือผู้ที่นำความรู้นี้ไปใช้ประโยชน์จากโครงงานนี้เป็นอย่างดี
สารบัญ
เรื่อง
หน้า
บทที่ 1
บทนำ
1
-ที่มาและคาวมสำคัญของโครงงาน
-จุดมุ่งหมายของการทำโครงงาน
-สมมุติฐาน
-ขอบเขตการศึกษา
บทที่2เอกสารที่เกียวข้อง
2-5
-กล้วยน้ำหว้า
บทที่3
วัสดุอปกรณ์และขั้งตอนการดำเนินงาน 6
-วัสดุอุปกรณ์
-ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
บทที่4ผลการเรียนรู้
7-8
-วัสดุอุปกรณ์และส่วนผสม
-วิธีการกล้วยฉาบ
9-12
บทที่5
สรุปผลและอภิปรายผลงาน
13
-สรุป
-อภิปราย
-ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
เอกสารอ้างอิง 14
บทที่1
ที่มาและความสำคัญของงาน
กล้วยเป็นอาหารที่นิยมบริโภในประเทศมีคุณค่าทางอาหาร
เหมาะสมสำหรับการรับประทานเป็นอาหารทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ทำค่อนข้างง่าย
กล้วยเป็นพืชพื้นบ้านของไทยทีถูกนำมาใช้ประโยชน์ในทุกสมัย
เพราะทุกส่วนของกล้วยสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมไม่ว่าจะเป็นอาหาร ขนม
ของตกแต่ง กระทง หรือภาชนะช่วงนี้ประเทศไทยเกือบทุกภาค จะมีฝนฟ้าตกกระจายทัวไป
ผลผลิตกล้วยนานาชนิดให้ผลมากมายบางครั้งรับประทานสุกไม่ทัน
ขอแนะนำให้ท่านผู้สนใจทดลองแปรรูปกล้วยแบบง่ายๆ
ตามที่ภูมิปัญญาไทยได้ตกทอดมาให้จนถึงรุ่นลูกหลานในปัจจุบัน ทำง่ายๆ
หากทำคล่องดีแล้ว ก็สามารถผลิตเป็นอาชิพเสรืมรายได้ เป็นอย่างดี
จุดมุ่งหมายของการทำโครงงาน
1.เพื่อได้เรียนรู้การทำงานเรื่องกล้วย
2.เพื่อฝึกความสามัคคีในกลู่ม
3.นำข้อมูลส่งอาจารย์ผู้สอม
4.เพื่อฝึกการทำงาน
สมมุติฐาน
หวังว่าจะได้รับประโยชน์จากการทำโครงงาน
เพื่อนำไปประกอบอาชีพในอนาคต
และสามารถคิดค้นวิธีใหม่ๆจากกล้วยฉาบธรรมดาให้เป็นกล้วยฉาบที่อร่อยและมีประโยชน์
ขอบเขตการศึกษา
ศึกษาจากเว็บไซต์และสอบถามบุคคลที่รู้เกี่ยวกับกล้วยกับกล้วยฉาบหนังสือตามห้องสมุด
บทที่2
เอกสารเกี่ยวข้อง
กล้วยน้ำว้า
เป็นกล้วยพันธุ์หนึ่ง
พัฒนามาจากลูกผสมระหว่างกล้วยป่ากับกล้วยตานี บริโภคกันอย่างแพร่หลาย ปลูกง่าย
รสชาติดี สำหรับกล้วยน้ำว้าแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ตามสีของเนื้อ คือ น้ำว้าแดง
น้ำว้าขาว และน้ำว้าเหลือง คนไทยรับประทานกล้วยน้ำว้าทั้งผลสด ต้ม ปิ้ง
และนำมาประกอบอาหาร นอกจากนี้ยังมีกล้วยน้ำว้าดำ ซึ่งเปลือกมีสีครั่งปนดำ
แต่เนื้อมีสีขาว รสชาติอร่อยคล้ายกล้วยน้ำว้าขาว
สำหรับกล้วยตีบเหมาะที่จะรับประทานผลสด เพราะเมื่อนำไปย่าง หรือต้มจะมีรสฝาด
คุณค่าทางอาหารและยา
กล้วยน้ำว้าเมื่อเทียบกับกล้วยหอมและกล้วยไข่
กล้วยน้ำว้าจะให้พลังงานมากที่สุด กล้วยน้ำว้าห่ามและสุกมีธาตุเหล็กในปริมาณสูง
ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง ป้องกันโรคโลหิตจาง มีแคลเซียม ฟอสฟอรัส และวิตามินซีช่วยบำรุงกระดูก
ฟัน และเหงือกให้แข็งแรง ช่วยให้ผิวพรรณดี มีเบต้าแคโรทีน ไนอาซีนและใยอาหาร
ช่วยให้ระบบขับถ่ายคล่องขึ้น กินกล้วยน้ำว้าสุก
จะช่วยระบายท้องและสามารถรักษาโรคเลือดออกตามไรฟันในเด็กเล็กได้ ช่วยลดอาการเจ็บคอ
เจ็บหน้าอกที่มีอาการไอแห้งร่วมด้วย โดยกินวันละ 4-6 ลูก แบ่งกินกี่ครั้ง ก็ได้
กินกล้วยก่อนแปรงฟันทุกวันจะทำให้ไม่มีกลิ่นปาก และผิวพรรณดี เห็นผลได้ใน 1
สัปดาห์ กล้วยน้ำว้าดิบและห่ามมีสารแทนนิน เพคตินมีฤทธิ์ฝาดสมาน รักษา
อาการท้องเสียที่ไม่รุนแรงได้ โดยกินครั้งละครึ่งผล หรือ 1 ผล
อาการท้องเสียจะทุเลาลง นอกจากนี้จากการศึกษาวิจัยยังพบว่า
มีผลในการรักษาโรคกระเพาะได้อีกด้วย
การจำแนกกล้วยตามวิธีการนำมาบริโภคสามารถแบ่งกล้วยออกเป็น
2 กลุ่มคือ กล้วยกินสด
เป็นกล้วยที่เมื่อสุกสามารถนำมารับประทานได้ทันที
โดยไม่ต้องนำมาทำให้สุกด้วยความร้อน เพราะเมื่อสุก เนื้อจะนิ่ม มีรสหวาน เช่น
กล้วยไข่ กล้วยหอมทอง กล้วยหอมเขียว และกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร
เป็นกล้วยที่เมื่อดิบมีแป้งมาก เนื้อค่อนข้างแข็ง เมื่อสุกยังมีส่วนของแป้งอยู่มากกว่ากล้วยกินสดมาก
เนื้อจึงไม่ค่อยนิ่ม รสไม่หวาน ต้องนำมาต้ม เผา ปิ้ง เชื่อม จึงจะทำให้อร่อย
รสชาติดีขึ้น เช่น กล้วยกล้าย กล้วยหักมุก กล้วยเล็บช้างกุด
ในพื้นที่
เช่น ทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป ผลไม้สกุล Musa ที่วางจำหน่ายได้แบ่งเป็น "กล้วย" และ "กล้าย"
บนพื้นฐานของการนำไปใช้เป็นอาหาร ดังนั้น ผู้ผลิตและชีกีตา (Chiquita) ซึ่งเป็นผู้จัดจำหน่ายได้ผลิตวัสดุประชาสัมพันธ์สำหรับตลาดอเมริกาที่บอกว่า
"กล้ายไม่ใช่กล้วย"
ความแตกต่างนั้นคือกล้ายมีแป้งมากกว่าและหวานน้อยกว่า นิยมทานสุกกว่ากว่าทานดิบ
มีเปลือกหนาสีเขียว เหลือง หรือดำ ซึ่งสามารถใช้บอกสถานะของความสุกงอมได้[23] ลินเนียสได้สร้างความแตกต่างระหว่างกล้วยและกล้ายดังกล่าวขึ้นเมื่อแรกตั้งชื่อ
"สปีชีส์" ทั้งสองของ Musa[24] สมาชิกของพันธุ์กล้วย
"กลุ่มย่อยกล้าย" ที่เป็นอาหารที่สำคัญมากในแอฟริกาตะวันตกและละตินอเมริกามีลักษณะยาวแหลม
ซึ่งมันได้รับการจำแนกว่าเป็นกล้ายแท้โดยพลอตซ์และคณะ (Ploetz et al.) ต่างจากกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารพันธุ์อื่น[25] กล้ายที่สูงแอฟริกาตะวันออก (East African Highland banana) ซึ่งเป็นกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารในแอฟริกาตะวันออกนั้น
จัดอยู่ในกลุ่มอื่น[5] ดังนั้น
จึงไม่มีคุณสมบัติเป็นกล้ายแท้ตามคำนิยามนี้
แนวทางหนึ่งที่จะแบ่งกล้วยออกเป็นกล้วยกินสดและกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร
ซึ่งกล้ายเป็นกลุ่มย่อยหนึ่งของกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร[26] คือ พันธุ์ปลูก triploid กำเนิดมาจาก M. acuminata เพียงลำพังจะเป็นกล้วยกินสด ในขณะที่
พันธุ์ปลูก triploid ที่เป็นลูกผสมระหว่าง M. acuminata และ M. balbinosa (โดยเฉพาะกลุ่มย่อยกล้ายเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่ม AAB) เป็น "กล้าย"
(ในที่นี้หมายถึงกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร) [27][28] เกษตรกรรายย่อยในประเทศโคลอมเบียปลูกพันธุ์กล้วยหลากหลายมากกว่าสวนเชิงพาณิชย์ขนาดใหญ่
จากการศึกษาพันธุ์ปลูกเหล่านี้แสดงว่ากล้วยสามารถจัดกลุ่มได้อย่างน้อยสามกลุ่มตามพื้นฐานของลักษณะ
ได้แก่ กล้วยกินสด กล้วยที่ใช้ประกอบอาหารที่ไม่ใช่กล้าย และกล้าย
แม้ว่าจะมีการคาบเกี่ยวกันระหว่างกล้วยกินสดและกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร[29]
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศูนย์กลางความหลากหลายของกล้วย ทั้งกล้วยป่าและกล้วยพันธุ์ ความแตกต่างระหว่าง
"กล้วย" และ "กล้าย" กลับไม่มีความหมาย
ตามข้อมูลของวาลมาเยอร์ (Valmayor)
และคณะ
กล้วยหลายพันธุ์ใช้ทั้งรับประทานสดและประกอบอาหาร กล้วยที่ใช้ประกอบอาหารที่มีแป้งมีขนาดเล็กกว่ากล้วยรับประทานสด
ช่วงสี ขนาด และรูปทรง หลากหลายกว่ากล้วยที่ปลูกหรือขายในแอฟริกา ยุโรป
หรืออเมริกา[24] ภาษาเรียกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไม่บ่งชี้ถึงความแตกต่างระหว่าง
"กล้วย" และ "กล้าย" เหมือนอย่างในภาษาอังกฤษ (และภาษาสเปน)
ดังนั้น ทั้งพันธุ์กล้วยหอมเขียว (Cavendish banana) ซึ่งเป็นกล้วยรับประทานสดที่รู้จักกันดี
และพันธุ์กล้วยหิน (Saba
banana)[30] ที่นิยมใช้ประกอบอาหาร
ถูกเรียกว่า pisang (ปีซาง)
ในประเทศมาเลเซียและประเทศอินโดนีเซีย, กล้วย ในประเทศไทย และ chuoi (ชวย) ในประเทศเวียดนาม[31] กล้วยเฟอิ (Fe'i banana) ที่ปลูกและรับประทานในหมู่เกาะของมหาสมุทรแปซิฟิก
มีต้นกำเนิดที่แตกต่างโดยสิ้นเชิงจากกล้วยโบราณและกล้าย
กล้วยเฟอิส่วนมากจะใช้ประกอบอาหาร แต่กล้วยคาแรต (Karat banana) ที่มีลักษณะสั้นป้อม
มีเปลือกสีแดงสดต่างจากกล้วยรับประทานสดทั่วไป ใช้กินสด[32]
สรุปแล้ว
ในเชิงพาณิชย์ในยุโรปและอเมริกา (แม้ไม่จัดเป็นพื้นที่เพาะปลูกขนาดเล็ก)
ได้แยกความแตกต่างระหว่าง "กล้วย" ซึ่งรับประทานสดและ "กล้าย"
ที่ใช้ประกอบอาหาร ขณะที่ในพื้นที่อื่นๆ ของโลก โดยเฉพาะอินเดีย
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก มีกล้วยหลายชนิด
และไม่มีการแยกความแตกต่างระหว่างกล้วยทั้งสองกลุ่ม และไม่มีการแยกคำในภาษาถิ่น
กล้ายเป็นหนึ่งในกล้วยหลายชนิดที่ใช้ประกอบอาหาร
ซึ่งไม่แตกต่างจากกล้วยรับประทานสด
สรูปแล้วในเชิงพาณิชย์ไนยุโรปและอเมริกา(แม้ไม่จัดเป็นพื้นเพาะปลูกขนาดเล็ก)ได้แยกความแตกต่างระหว่าง กล้วย
ซึ่งรับประทานสดและ กล้วย ทีใช้ประกอบอาหาร
ขณะที่ในพ็นที่อื่นๆของโลกโดยเฉพาะอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
มีกล้วยชนิด และไม่มีการแยกความแตกต่างระหว่างกล้วยทั้งสองกลุ่ม
และไม่มีการแยกคำในภาษาถิ่น กล้าย
เป็นหนึ่งในกล้วยหลายชนิดที่ใช้ประกอบอาหารซึ่งไม่แตกต่างจากกล้วยรับประทานสด
เราคงจะไม่ปฏิเสธว่า
กล้วย เกี่ยวข้องและเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตคนใทยนับตั้งแต่เกิดจนกระทั่ง
สิ้นอายุขัย
กล้วยน้ำว้า
ถึงจะเป็นผลไม้ ที่ไม่น่าจะให้พลังงานได้เยอะ แต่เชื่อหรือไม่ว่า
กล้วยเป็นแหล่งพลังงานสำรองชั้นดี ในกล้วย 1 ผล สามารถให้พลังงานได้ร่วม 100
แคลอรี่ มีน้ำตาลธรรมชาติอยู่ 3 ชนิด ทั้ง ซูโครส ฟรุคโทส และกลูโครส
รวมไปถึงเส้นใยและกากอาหาร และอุดมด้วย วิตามินบี 6 ที่ช่วยกระตุ้นระบบภูมิต้านทาน
แถมแร่ธาตุอย่างแมกนีเซียมและโพแทสเซียม ที่ช่วยป้องกันโรคความดันอีก
ในบรรดากล้วยทั้งหมด
กล้วยน้ำว้าให้แคลเวียมสูงสุด นอกจากนั้นก็ยังมีวิตามินบี 1 บี 2 ซี และไนอะซิน
(บี 6) ในปริมาณที่เท่า ๆ กัน แต่ที่ทำให้กล้วยน้ำว้า
มีคุณค่าสารอาหารที่พิเศษกว่ากล้วยชนิดอื่น นั่นก็คือ โปรตีนที่อยู่ในกล้วยน้ำว้า
มีกรดอะมิโน อาร์จินิน และฮีสติดิน ซึ่งมีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของทารก
ถึงเป็นเหตุผลที่ว่าทำไมตอนเด็ก ๆ ผู้ใหญ่ถึงให้เรากินกล้วยบด
เพราะอุดมด้วยสารอาหาร และวิตามินที่จำเป็นต่อร่างกายเรานั่นเอง
ปลูกกล้วยกระถาง
ปลูกกล้วยบอนไซปลุกกล้วยเป็นอาชีพอิสระ
เพือการมีรายได้ระหว่างเรียนของนักเรียนโดยใช้พืนที่ในการปลุกทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
คนไทยเราส่วนใหญ่มักจะคิดมักจะคิดว่าข้าวเท่านั้นที่เป็นอาหารหลังทังๆที่มีอาหารอื่นทั้งหาได้ไม่ยาก
และมีคุณค่าทางอาหารมากมายเราได้แต่ฝันว่า
สักวันหนึ่งคนไทยจะหันมาให้ความสำคัญกับกล้วยมากกว่านี้และเมี่อนั้นกล้วยเป็น
พืชเศรษฐกิจอันดับต้นๆของไทยทีเดียว
การทำกล้วยฉาบก็เช่นกัน
ถือ เป็นมานำเอากล้วยมาประยุกต์หรือแปรรูปเพื่อเก็บไว้รับประทานเป้นภูมิปัญญาชาวบ้านที่รู้จักการถนอมอาหารอีกวิธีหนึ่งที่มีมาแต่โบราณและนำมาประกอบเป็นอาชีพได้เป็นอาชีพเสริมหรืออาชีพเสริมหรืออาชีพอิสระได้
ป็นอาชีพที่สุจริตอีกด้วย
บทที่3
อุปกรณ์ในการทำ
วัสดุอุปกรณ์
1.กล้วยน้ำว้า
2.น้ำตาลทราย
3.ทัพพี
4.น้ำมัน
5.กระทะ
6.กะซอน
7.ถาด
วิธีการทำกล้วยฉาบ
1.นำกล้วยมาปอกเปลือกแล้วนำไปแช่น้ำเกลือไว้เพื่อไม่ให้กล้วยมีสีดำ
2.ฝานกล้วยเป็นแผ่นบางๆตามยาวหรือตามขวางก็ได้แล้วแต่ว่าจะชอบแบบไหน
ขั้นตอนในการฝานกล้วยเพื่อทำกล้วยฉาบ
3.นำกล้วยลงไปทอดในน้ำมันที่ผสมเนยและใบเตย
หมั่นกลับกล้วยบ่อยๆให้สุกสม่ำเสมอกัน จนกรอบ ไม่ต้องให้กล้วยเหลืองจากกระทะ
คือเอาให้พอกรอบ แล้วพอตั้งไว้ให้สะเด็ดน้ำมัน กล้วยจะเหลืองเอง
4.ตั้งกระทะ
ใส่น้ำ 3 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำตาล 1/2 ถ้วย ใส่เกลือเล็กน้อย
เคี่ยวให้น้ำตาลเหนียวและเหลือง ลดไฟลง
5.นำกล้วยที่ทอดเสร็จไปคลุกเคล้ากับน้ำตาล
ระวังอย่าทำแรงเพราะกล้วยจะแตกการทอดกล้วยฉาบเป็นอันว่าเสร็จพิธีในการทำกล้วยทอด
ในขั้นตอนการทำน้ำเชื่อมใครอยากได้รสชาติหรือกลิ่นอะไรก็สามารถดัดแปลงได้ครับ
อาจใช้น้ำผึ้งผสมน้ำตาลก็ได้ เพื่อความหอม เป็นต้น
บทที่4
จากการศึกษาค้นคว้าและฝึกทำกล้วยฉาบ
ผลที่ได้คือพวกเราได้เรียนรู้วิธีการทำกล้วยฉาบที่ถูกวิธีและได้กล้วยฉาบที่อร่อยด้านล่างนี้
วัสดุอุปกรณ์และส่วนผสม
1.กล้วยน้ำว้า
2.น้ำตาลทราย
3.ทัพพี
4.น้ำมัน
5.กระทะ
6.กะซอน
7.ถาด
วิธีการทำกล้วยฉาบ
1.เลือกกล้วยที่แก่จัด
ตัดจ่กต้น ถ้าชื้อต้องไม่ผ่านกาบ่มแก๊ส
2.เตรียมน้ำใส่กะละมังใหญ่ใส่เกลือกันกล้วยดำ
ใส่มะนาวหรือมะกรูดอันนี้กันมือเราดำ
3.ปอกกล้วยแช่น้ำ
ยกขึ้นให้สะเด็ดน้ำแล้ว
4.ใช้ปอกแตงทำอย่างรวดเร็ว
ให้กล้วยเต็มกะระพอดีถาช้ากล้วยจะสุกไม่เสมอถ้าน้ำมันใม่เดือดกล้วยจะอมน้ำมัน ถ้าใส่กล้วยมากจนคับกระทะกล้วยจะติดกันคนยาก
5.เตรียมตักขึ้น
สะเด็ดน้ำมัน
6.ขั้นตอนกล้วยฉาบใส่น้ำตาลทรายดูปริมาณกล้วยตั้งให้เดือดคนได้ที่เป็นน้ำเชื่อมก็ใสกล้วยคลุกเบาๆให้เข้ากันละลายหมดเอากล้วยลงไปคลุกกับน้ำตาลเร็วๆระวังไหม้ควรใช้ตะหลิว2มือจะคลุกเคล้าได้ทั่วถึง
พอน้ำตาลจับกล้วยแข็งเป็นสีขาวตักขึ้นได้เลย
7.ตักขึ้นให้สะเด็ดน้ำพอเย็นก็กินแพ็คถุงส่งให้เพื่อนส่งขายตามร้านขายของชำหรือตามตลาด
บทที่5
สรุปผลและอภิปรายผลงาน
สรุป
การทำ
โครงงานกล้วยฉาบทำให้สมาชิกได้นำเสนอผลงาน โดยขายให้เพื่อนระดับมัธยมศึกษา
และคุณครู ได้ชมผลงาน เล่นผลงานให้เพื่อนๆและครูฟัง
และได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองและได้ฝึกประสบการณ์หลายอย่าง
แล่นได้สำเร็จเร็จตามวัตถุประสงค์ที่คาดหมาย
อภิปราย
1.ประสบความสำเร็จในการทำกล้ายฉาบเป็นที่น่าพอใจ
2.สมาชิกในกลู่มมีคาวมสามัคคีในการทำโครงงาน
3.รู้จักการทำโครงงานอย่างเป็นขั้นตอน
4รู้จักวิธีแก้ไขปัญหา
5.รู้จักการทำงานรวมกันเป็นกลุ่ม
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
1.ได้กำไรในการทำงาน
2.ผลงานที่เหมาะสม
และ พร้อมที่จะส่งชิ้นงาน
3.ได้ความร่วมมือที่ดีจากกลุ่มเพื่อนๆ
ภาคผนวก
1.เลือกกล้วยที่แก่จัด
ตัดจ่กต้น ถ้าชื้อต้องไม่ผ่านกาบ่มแก๊ส
2.เตรียมน้ำใส่กะละมังใหญ่ใส่เกลือกันกล้วยดำ
ใส่มะนาวหรือมะกรูดอันนี้กันมือเราดำ
4.ใช้ปอกแตงทำอย่างรวดเร็ว
ให้กล้วยเต็มกะระพอดีถาช้ากล้วยจะสุกไม่เสมอถ้าน้ำมันใม่เดือดกล้วยจะอมน้ำมัน ถ้าใส่กล้วยมากจนคับกระทะกล้วยจะติดกันคนยาก
5.เตรียมตักขึ้น
สะเด็ดน้ำมัน
6.ขั้นตอนกล้วยฉาบใส่น้ำตาลทรายดูปริมาณกล้วยตั้งให้เดือดคนได้ที่เป็นน้ำเชื่อมก็ใสกล้วยคลุกเบาๆให้เข้ากันละลายหมดเอากล้วยลงไปคลุกกับน้ำตาลเร็วๆระวังไหม้ควรใช้ตะหลิว2มือจะคลุกเคล้าได้ทั่วถึง
พอน้ำตาลจับกล้วยแข็งเป็นสีขาวตักขึ้นได้เลย
7.ตักขึ้นให้สะเด็ดน้ำพอเย็นก็กินแพ็คถุงส่งให้เพื่อนส่งขายตามร้านขายของชำหรือตามตลาด